"คมนาคม" เดินหน้ารถไฟความเร็วสูง เล็งตั้งคณะกรรมการกำกับการพัฒนารถไฟความเร็วสูงขึ้น เชิญนายกฯ นั่งประธาน แบ่งคณะทำงาน 5 ด้าน ประเดิม 4 เส้นทางแรก ตั้งเป้าเริ่มก่อสร้าง 1-2 ปีข้างหน้า วงเงินลงทุน 121,014 ล้านบาท
การเดินหน้าจัดสร้างรถไฟความเร็วสูง เป็นวาระหนึ่งที่สำคัญในการเดินทางไปเยือนประเทศจีน ของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ล่าสุด คมนาคมเตรียมตั้งคณะกรรมการพัฒนารถไฟความเร็วสูงดึงนายกฯ เข้าร่วม เร่งเดินหน้า 4 เส้นทาง คาดเริ่มก่อสร้าง 1-2 ปีข้างหน้า มั่นใจยกระดับคุณภาพชีวิตคนไทย และสร้างความเจริญให้แต่ละเมือง ตลอดเส้นทางเดินรถ
นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดเผยถึงแนวทางการพัฒนารถไฟความเร็วสูง ว่า กระทรวงคมนาคม จะเข้ารายงานถึงแนวทางการเร่งรัดโครงการให้ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี รับทราบ เนื่องจากให้ความสนใจในการเร่งรัดโครงการดังกล่าว หลังจากเดินทางเยือนประเทศจีน ทำให้เห็นความจำเป็นในการเร่งผลักดันโครงการให้เป็นรูปธรรม
การเดินหน้าจัดสร้างรถไฟความเร็วสูง เป็นวาระหนึ่งที่สำคัญในการเดินทางไปเยือนประเทศจีน ของ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ล่าสุด คมนาคมเตรียมตั้งคณะกรรมการพัฒนารถไฟความเร็วสูงดึงนายกฯ เข้าร่วม เร่งเดินหน้า 4 เส้นทาง คาดเริ่มก่อสร้าง 1-2 ปีข้างหน้า มั่นใจยกระดับคุณภาพชีวิตคนไทย และสร้างความเจริญให้แต่ละเมือง ตลอดเส้นทางเดินรถ
นายจารุพงศ์ เรืองสุวรรณ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดเผยถึงแนวทางการพัฒนารถไฟความเร็วสูง ว่า กระทรวงคมนาคม จะเข้ารายงานถึงแนวทางการเร่งรัดโครงการให้ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี รับทราบ เนื่องจากให้ความสนใจในการเร่งรัดโครงการดังกล่าว หลังจากเดินทางเยือนประเทศจีน ทำให้เห็นความจำเป็นในการเร่งผลักดันโครงการให้เป็นรูปธรรม
อย่างไรก็ตาม เพื่อให้การขับเคลื่อนโครงการอย่างรวดเร็ว จะมีการหารือกับนายกรัฐมนตรี ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการกำกับการพัฒนารถไฟความเร็วนายกรัฐมนตรี ให้มีการจัดตั้งคณะกรรมการกำกับการพัฒนารถไฟความเร็วสูงขึ้น โดยจะขอให้นายกรัฐมนตรี เป็นคณะกรรมการชุดนี้ และมีปลัดกระทรวงคมนาคม เป็นกรรมการและเลขานุการ
สำหรับกรรมการชุดดังกล่าว มีคณะทำงาน 5 ด้าน ประกอบด้วย คณะทำงานด้านเทคนิคและวิศวกรรม ด้านการเงินการลงทุน ด้านการก่อสร้าง ด้านสร้างมูลค่าเพิ่มโครงการ และด้านการบริหารการเดินรถ ซึ่งคณะทำงานทั้งหมดจะร่วมกันร่างกรอบความต้องการของประเทศ เพื่อให้การดำเนินโครงการสอดคล้องกับการพัฒนา ขณะเดียวกัน จะมีการจัดตั้งวิสาหกิจรถไฟความเร็วแห่งชาติ เพื่อก่อสร้างและควบคุมงาน
นอกจากนี้ ที่ผ่านมา จากการเดินทางเยือนจีน และญี่ปุ่น ของนายกรัฐมนตรี ซึ่งทั้ง 2 ประเทศแสดงความมีน้ำใจเข้ามาพัฒนาการดำเนินโครงการรถไฟความเร็วสูงในไทย ดังนั้น กระทรวงคมนาคม จะร่วมกับทั้ง 2 ประเทศ ศึกษารายละเอียดโครงการ และยืนยันว่าพร้อมพัฒนาโครงการ และยืนยันว่าพร้อมพัฒนาโครงการรถไฟความเร็วสูงพร้อมกันทั้ง 4 เส้นทาง
สำหรับ 4 เส้นทาง ประกอบด้วย เส้นทางสายเหนือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ กรุงเทพฯ-นครราชสีมา กรุงเทพฯ-หัวหิน และกรุงเทพฯ-ระยอง ซึ่งการพัฒนาอาจจะแบ่งระยะโครงการเป็นเฟส เช่น สายเหนือ อาจพัฒนาจากกรุงเทพฯ-พิษณุโลก ก่อนจะขยายเฟสไป จ.เชียงใหม่ ต่อไป ทั้งนี้ เชื่อว่าเมื่อตั้งคณะกรรมการจะทำให้รายละเอียดต่างๆ ชัดเจน และสามารถเดินหน้าได้อย่างรวดเร็ว โดยกระทรวง ตั้งเป้าหมายเริ่มก่อสร้างภายใน 1-2 ปี ข้างหน้า
ด้าน ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม กล่าวว่า โครงการดังกล่าวมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ และยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน เนื่องจากการพัฒนาแต่ละเส้นทางจะเป็นการพัฒนาเมืองแต่ละเมืองให้มีความเจริญไปด้วย ซึ่งการพัฒนารถไฟความเร็วสูงทุกฝ่ายต้องร่วมกัน โดยนายกรัฐมนตรี ให้ความสำคัญและพร้อมผลักดันความเร็วสูงทุกฝ่ายต้องร่วมกัน โดยนายกรัฐมนตรี ให้ความสำคัญและพร้อมผลักดันให้เป็นวาระแห่งชาติในการพัฒนา
ก่อนหน้านี้ พล.ต.ท.ชัจจ์ กุลดิลก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดเผยว่า ยืนยันเดินหน้าโครงการรถไฟความเร็วสูง โดยจะต้องพัฒนาระบบรางให้เป็นสแตนดาร์ตเกต หรือรางขนาด 1.435 เมตร ซึ่งได้มอบหมายให้กระทรวงคมนาคม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร หรือ สนข. การรถไฟแห่งประเทศ ไทย หรือ ร.ฟ.ท. ไปเร่งศึกษาความเหมาะสมของโครงการใน 5 สายทาง ประกอบด้วย 1. เส้นทางกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ 2. กรุงเทพฯ-ระยอง 3. กรุงเทพฯ-นครราช สีมา 4. กรุงเทพฯ-สุไหงโก-ลก และ 5. นครราชสีมา-อุบลราชธานี โดยเส้นทางที่จะดำเนินการได้ก่อน คือ เส้นทางกรุงเทพฯ-นครราชสีมา
"ให้กระทรวงคมนาคม ศึกษาโดยเร็ว โดยเฉพาะในประเด็นว่ารถไฟความเร็วสูงจะเป็นทางคู่ขนาดราง 1.435 เมตร ซึ่งยังคงใช้รางรถไฟเดิมขนาด 1 เมตร ที่มีอยู่เดิมได้หรือไม่ เพื่อให้ประหยัดเงินลงทุน ซึ่งขณะนี้ ร.ฟ.ท. อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคนิคว่าสามารถดำเนินการได้หรือไม่ หากสามารถดำเนินการได้ก็เชื่อว่าจะช่วยประหยัดงบประมาณก่อสร้างได้ แต่หากใช้ร่วมกัน ไม่ได้ก็จะสร้างทางคู่แยกจากรางเดิม" รมช.คมนาคม กล่าว
ผู้สื่อข่าวรายงานว่าจากข้อมูลสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและการจราจร หรือ สนข. การลงทุนรถไฟความเร็วสูง 4 เส้นทาง ประกอบด้วย เส้นทางสายเหนือจากกรุงเทพฯ-พิษณุโลก ระยะทางรวม 382 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 121,014 ล้านบาท ระยะเวลาก่อสร้าง 5 ปี พิษณุโลก-เชียงใหม่ ระยะทาง 363 กิโลเมตร วงเงิน 108,797 ล้านบาท สายตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพฯ-นครราช สีมา ระยะทาง 256 กิโลเมตร วงเงินก่อสร้าง 96,083 ล้านบาท
รวมถึงเส้นทางกรุงเทพฯ-หัวหิน ระยะทาง 225 กิโลเมตร วงเงิน 82,166 ล้านบาท สายตะวันออก กรุงเทพฯ-ระยอง จะเชื่อมต่อรถไฟแอร์พอร์ตลิงค์ระยะทาง 220 กิโลเมตร วงเงินก่อสร้าง 72,265 ล้านบาท โดยภาพรวมทั้ง 4 เส้นทาง จะมีระยะทาง 1,447 กิโลเมตร งบประมาณลงทุน 481,066 ล้านบาท ระยะเวลาก่อสร้างตั้งแต่ปี 2557 และเสร็จภายในปี 2562
ที่มา :ทรานสปอร์ต เจอร์นัล ประจำวันที่ 7 - 13 พ.ค. 2555
สำหรับกรรมการชุดดังกล่าว มีคณะทำงาน 5 ด้าน ประกอบด้วย คณะทำงานด้านเทคนิคและวิศวกรรม ด้านการเงินการลงทุน ด้านการก่อสร้าง ด้านสร้างมูลค่าเพิ่มโครงการ และด้านการบริหารการเดินรถ ซึ่งคณะทำงานทั้งหมดจะร่วมกันร่างกรอบความต้องการของประเทศ เพื่อให้การดำเนินโครงการสอดคล้องกับการพัฒนา ขณะเดียวกัน จะมีการจัดตั้งวิสาหกิจรถไฟความเร็วแห่งชาติ เพื่อก่อสร้างและควบคุมงาน
นอกจากนี้ ที่ผ่านมา จากการเดินทางเยือนจีน และญี่ปุ่น ของนายกรัฐมนตรี ซึ่งทั้ง 2 ประเทศแสดงความมีน้ำใจเข้ามาพัฒนาการดำเนินโครงการรถไฟความเร็วสูงในไทย ดังนั้น กระทรวงคมนาคม จะร่วมกับทั้ง 2 ประเทศ ศึกษารายละเอียดโครงการ และยืนยันว่าพร้อมพัฒนาโครงการ และยืนยันว่าพร้อมพัฒนาโครงการรถไฟความเร็วสูงพร้อมกันทั้ง 4 เส้นทาง
สำหรับ 4 เส้นทาง ประกอบด้วย เส้นทางสายเหนือ กรุงเทพฯ-เชียงใหม่ กรุงเทพฯ-นครราชสีมา กรุงเทพฯ-หัวหิน และกรุงเทพฯ-ระยอง ซึ่งการพัฒนาอาจจะแบ่งระยะโครงการเป็นเฟส เช่น สายเหนือ อาจพัฒนาจากกรุงเทพฯ-พิษณุโลก ก่อนจะขยายเฟสไป จ.เชียงใหม่ ต่อไป ทั้งนี้ เชื่อว่าเมื่อตั้งคณะกรรมการจะทำให้รายละเอียดต่างๆ ชัดเจน และสามารถเดินหน้าได้อย่างรวดเร็ว โดยกระทรวง ตั้งเป้าหมายเริ่มก่อสร้างภายใน 1-2 ปี ข้างหน้า
ด้าน ดร.ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม กล่าวว่า โครงการดังกล่าวมีความสำคัญต่อเศรษฐกิจ และยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชน เนื่องจากการพัฒนาแต่ละเส้นทางจะเป็นการพัฒนาเมืองแต่ละเมืองให้มีความเจริญไปด้วย ซึ่งการพัฒนารถไฟความเร็วสูงทุกฝ่ายต้องร่วมกัน โดยนายกรัฐมนตรี ให้ความสำคัญและพร้อมผลักดันความเร็วสูงทุกฝ่ายต้องร่วมกัน โดยนายกรัฐมนตรี ให้ความสำคัญและพร้อมผลักดันให้เป็นวาระแห่งชาติในการพัฒนา
ก่อนหน้านี้ พล.ต.ท.ชัจจ์ กุลดิลก รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม เปิดเผยว่า ยืนยันเดินหน้าโครงการรถไฟความเร็วสูง โดยจะต้องพัฒนาระบบรางให้เป็นสแตนดาร์ตเกต หรือรางขนาด 1.435 เมตร ซึ่งได้มอบหมายให้กระทรวงคมนาคม และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและจราจร หรือ สนข. การรถไฟแห่งประเทศ ไทย หรือ ร.ฟ.ท. ไปเร่งศึกษาความเหมาะสมของโครงการใน 5 สายทาง ประกอบด้วย 1. เส้นทางกรุงเทพฯ-เชียงใหม่ 2. กรุงเทพฯ-ระยอง 3. กรุงเทพฯ-นครราช สีมา 4. กรุงเทพฯ-สุไหงโก-ลก และ 5. นครราชสีมา-อุบลราชธานี โดยเส้นทางที่จะดำเนินการได้ก่อน คือ เส้นทางกรุงเทพฯ-นครราชสีมา
"ให้กระทรวงคมนาคม ศึกษาโดยเร็ว โดยเฉพาะในประเด็นว่ารถไฟความเร็วสูงจะเป็นทางคู่ขนาดราง 1.435 เมตร ซึ่งยังคงใช้รางรถไฟเดิมขนาด 1 เมตร ที่มีอยู่เดิมได้หรือไม่ เพื่อให้ประหยัดเงินลงทุน ซึ่งขณะนี้ ร.ฟ.ท. อยู่ระหว่างการศึกษาความเป็นไปได้ทางเทคนิคว่าสามารถดำเนินการได้หรือไม่ หากสามารถดำเนินการได้ก็เชื่อว่าจะช่วยประหยัดงบประมาณก่อสร้างได้ แต่หากใช้ร่วมกัน ไม่ได้ก็จะสร้างทางคู่แยกจากรางเดิม" รมช.คมนาคม กล่าว
ผู้สื่อข่าวรายงานว่าจากข้อมูลสำนักงานนโยบายและแผนการขนส่งและการจราจร หรือ สนข. การลงทุนรถไฟความเร็วสูง 4 เส้นทาง ประกอบด้วย เส้นทางสายเหนือจากกรุงเทพฯ-พิษณุโลก ระยะทางรวม 382 กิโลเมตร วงเงินลงทุน 121,014 ล้านบาท ระยะเวลาก่อสร้าง 5 ปี พิษณุโลก-เชียงใหม่ ระยะทาง 363 กิโลเมตร วงเงิน 108,797 ล้านบาท สายตะวันออกเฉียงเหนือ กรุงเทพฯ-นครราช สีมา ระยะทาง 256 กิโลเมตร วงเงินก่อสร้าง 96,083 ล้านบาท
รวมถึงเส้นทางกรุงเทพฯ-หัวหิน ระยะทาง 225 กิโลเมตร วงเงิน 82,166 ล้านบาท สายตะวันออก กรุงเทพฯ-ระยอง จะเชื่อมต่อรถไฟแอร์พอร์ตลิงค์ระยะทาง 220 กิโลเมตร วงเงินก่อสร้าง 72,265 ล้านบาท โดยภาพรวมทั้ง 4 เส้นทาง จะมีระยะทาง 1,447 กิโลเมตร งบประมาณลงทุน 481,066 ล้านบาท ระยะเวลาก่อสร้างตั้งแต่ปี 2557 และเสร็จภายในปี 2562
ที่มา :ทรานสปอร์ต เจอร์นัล ประจำวันที่ 7 - 13 พ.ค. 2555